วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Doctor and dentist.


Doctor and dentist.
Doctor or medical professional.
อาชีพหมอ หรือแพทย์



แพทย์ คือ ผู้ให้บริการด้านการรักษาสุขภาพร่างกาย และจิตใจในด้านต่าง ๆ
แพทย์ ในยุคปัจจุบันแบ่งออกได้หลายสาขา ตามสาขาเฉพาะทาง ยกตัวอย่างเช่น โรคผิวหนัง อายุรกรรม ศัลยกรรม โรคกระดูก โรคหู คอ โรคต่อมไร้ท้อ ระบบประสาท โรค แพทย์ผ่าตัด แพทย์ทั่วไป ฯลฯ
ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ
วินิจฉัยโรคหรืออาการของโรค
ให้การรักษาโรค
ให้คำแนะนำทางการแพทย์
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
1. มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ
2. มีผลการเรียนอยู่ในระดับดีถึงดีมาก
3. มีสิตปัญญาดี
4. มีสุขาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์
5. เป็นผู้เสียสละ
6. รักและศรัทธาต่อวิชาชีพแพทย์
7. มีความมั่นใจในตนเอง
8. ไม่กลัวเลือด
9. ชอบการให้บริการ
10. ไม่รังเกลียดคนป่วย
11. ชื่นชอบงานท้าทาย
12. อดทนต่อสภาพแรงกดดันได้ดี
13. มีความซื่อสัตย์
14. อื่นๆ
แนวทางพัฒนาอาชีพ
1. แพทย์
2. แพทย์ประจำตำบล
3. แพทย์ประจำโรงพยาบาลอำเภอ
4. แพทย์ประจำโรงพยาบาลจังหวัด
5. แพทย์โรงพยาบาลเอกชน
6. แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
7. ผู้ประกอบการโรงพยาบาล
8. เจ้าของคลินิก
9. อาจารย์หมอ
10. อื่น ๆ
แหล่งความรู้เพิ่มเติม
1. ห้องแนะแนวประจำโรงเรียน
2. ห้องสมุดต่าง ๆ
3. มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรแพทย์ เช่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์ ฯลฯ
4. เว็บไซต์
5. เอกสารและหนังสือต่าง ๆ
6. อื่น ๆ
ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม
อาชีพแพทย์เป็นอาชีพที่เสียสละ เนื่องจากเป็นอาชีพที่ต้องทุ่มเทเวลาส่วนใหญ่กับการดูแลรักษาคนไข้
โดยผู้ที่สนใจศึกษาคณะแพทย์ควรเลือกค้นหาข้อมูลให้เยอะ ๆก่อนตัดสินใจ และรู้ว่าตนเองมีความชอบความสนใจจริงหรือไม่
หากมีความสนใจอาชีพนี้อย่างแท้จริงแล้วถือว่าอาชีพแพทย์สร้างประโยชน์ให้สังคมอย่างมหาศาล
แต่หากเลือกไปตามกระแสสังคมหรือความนิยม การทำงานของเราก็ไม่มีความสุข
ฉะนั้นก่อนตัดสินใจเรียนหรือเลือกเรียนสาขาวิชาใดก็ตาม ต้องคิดให้รอบคอบและต้องรู้จักตนเองให้ดีพอ
ว่าเราชอบสิ่งใด เพื่อความสุขและอนาคตในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ตรงความปรารถนาของเรา....
>> แนวทางในการประกอบอาชีพ
ผู้ได้รับปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิตแล้ว จะต้องสมัครเป็นสมาชิกแพทยสภา และจะต้องผ่านการสอบเป็นผู้ประกอบอาชีพเวชกรรมตามหลักเกณฑ์การสอบความรู้ เพื่อขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบอาชีพเวชกรรมตามที่แพทยสภากำหนด เช่นเดียวกับผู้ที่สำเร็จจากคณะแพทยศาสตร์อื่นๆ บัณฑิตแพทย์ที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สามารถจะศึกษาต่อเพื่อความเชี่ยวชาญเฉพาะทางได้ในระหว่างและภายหลังการทำงานใช้ทุนในพื้นที่แล้ว หรือสามารถที่จะศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาได้ นอกจากนี้ยังสามารถที่จะประกอบอาชีพเป็นอาจารย์ หรือเป็นแพทย์ในโรงพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชน หรือในศูนย์บริการสุขภาพชุมชนซึ่งต้องการแพทย์จำนวนมาก

รุ่นพี่ที่เรียนแพทย์ที่เป็นแบบอย่างของผม





หมอริท แพทย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น





หมอโอ๊ค

รายชื่อสถาบันแพทยศาสตร์ ระดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร์ ที่แพทยสภาให้การรับรองหลักสูตรและเป็นผู้มีสิทธิ์สอบใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม มีทั้งหมด 21 แห่ง ดังต่อไปนี้

การแพทย์เฉพาะทาง เป็นสาขาย่อยของวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งหลังจากนักศึกษาแพทย์สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตจากโรงเรียนแพทย์ แพทย์ที่เรียนจบอาจเลือกศึกษาต่อในสาขาเฉพาะทางโดยสมัครเป็นแพทย์ประจำบ้านตามสถาบันที่เปิดรับสมัคร และหลังจากสำเร็จการศึกษาแล้วจะได้เป็น แพทย์เฉพาะทาง (Medical specialist) ในสาขาที่ศึกษามา

แพทย์เฉพาะทางในประเทศไทย

แพทยสภาได้ระบุสาขาของแพทย์เฉพาะทางในประเทศไทยเอาไว้ดังต่อไปนี้[1]








Doctor and dentist


Doctor and dentist.
อาชีพหมอ หรือแพทย์
Doctor or medical professional.

แพทย์ คือ ผู้ให้บริการด้านการรักษาสุขภาพร่างกาย และจิตใจในด้านต่าง ๆ
แพทย์ ในยุคปัจจุบันแบ่งออกได้หลายสาขา ตามสาขาเฉพาะทาง ยกตัวอย่างเช่น โรคผิวหนัง อายุรกรรม ศัลยกรรม โรคกระดูก โรคหู คอ โรคต่อมไร้ท้อ ระบบประสาท โรค แพทย์ผ่าตัด แพทย์ทั่วไป ฯลฯ
Medical is a leading provider of health care. And mental aspects.
Doctors today can be divided into several branches. According to the technical field. For example, skin diseases, bone diseases, medical surgery, Ear disease, endocrine disease, neurological surgery, medical doctors, etc..